ข้าวอยู่คู่คนไทยมานานแสนนาน ชาวนาก็เช่นเดียวกันการปลูกข้าวนั้นเป็นอาชีพชาวนาเพื่อทำมาหาเลี้ยงชีพชาวนาสมัยก่อนการปลูกข้าวหรือเกี่ยวข้าวจะต้องอาศัยความรวมมือกัน
เมื่อก่อนไม่มีเทคโนโลยีที่ช่วยให้ชาวนานั้นทุ่นแรงปัจจุบันมีเครื่องมือเทคโนโลยีหลากหลายที่ทำให้ชาวนานั้นได้เลือกใช้ในการประกอบอาชีพ
แต่กลับทำให้พื้นที่ทำนาและเกษตรกรรมลดน้อยลงทำให้ผลผลิตข้าวน้อยลง
เพราะเกิดจากต้นทุนการลงทุนปลูกข้าวมีราคาสูงขึ้น และราคาข้าวช่วงนี้ต่ำลง การลงทุนแต่ละครั้งไม่คุ้มเงินทองที่เสียไป
จึงมีการกู้ยืมลืมเงินนอกระบบมาใช้จ่าย ทำให้ชาวนานั้นเป็นหนี้เป็นสิน
จนต้องขายที่นาทำกินเพื่อนำเงินมาใช้หนี้และลงทุนในอาชีพอื่น แทนอาชีพชาวนา
พื้นที่นาที่ขายนั้นจะถูกแทนด้วยการสร้างโรงงานอุตสาหกรรมและหมู่บ้านโครงการต่างๆ
ทำให้ชาวนาส่วนใหญ่ที่ทำนาอยู่นั้น อยู่ในภาคกลาง เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อการทำนาตลอดปี
จึงทำให้ภาคกลางเป็นแหล่งผลิตข้าวรายใหญ่ในประเทศไทย
บรรณานุกรม
รองศาสตราจารย์ ดร.ธิดา สาระยา.ประวัติศาสตร์ชาวนายาม.กรุงเทพ : สำนักพิมพ์อมรินทร์, 2544.
พระยาอนุมานราชธน .ชีวิตชาวนา. กรุงเทพ :สำนักพิมพ์แม่คำผาง , 2531.
สำนักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลางสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.วิถีชีวิตชาวนาภาคกลางโจทย์ภายใต้กระแสความเปลี่ยนแปลง.
“ม.ป.ป.” ธันวาคม 2553
นายสมหมาย พงษ์ษร.28 เมษายน 2557.สัมภาษณ์
ข้าวอยู่คู่คนไทยมานานแสนนาน ชาวนาก็เช่นเดียวกันการปลูกข้าวนั้นเป็นอาชีพชาวนาเพื่อทำมาหาเลี้ยงชีพชาวนาสมัยก่อนการปลูกข้าวหรือเกี่ยวข้าวจะต้องอาศัยความรวมมือกัน
เมื่อก่อนไม่มีเทคโนโลยีที่ช่วยให้ชาวนานั้นทุ่นแรงปัจจุบันมีเครื่องมือเทคโนโลยีหลากหลายที่ทำให้ชาวนานั้นได้เลือกใช้ในการประกอบอาชีพ
แต่กลับทำให้พื้นที่ทำนาและเกษตรกรรมลดน้อยลงทำให้ผลผลิตข้าวน้อยลง
เพราะเกิดจากต้นทุนการลงทุนปลูกข้าวมีราคาสูงขึ้น และราคาข้าวช่วงนี้ต่ำลง การลงทุนแต่ละครั้งไม่คุ้มเงินทองที่เสียไป
จึงมีการกู้ยืมลืมเงินนอกระบบมาใช้จ่าย ทำให้ชาวนานั้นเป็นหนี้เป็นสิน
จนต้องขายที่นาทำกินเพื่อนำเงินมาใช้หนี้และลงทุนในอาชีพอื่น แทนอาชีพชาวนา
พื้นที่นาที่ขายนั้นจะถูกแทนด้วยการสร้างโรงงานอุตสาหกรรมและหมู่บ้านโครงการต่างๆ
ทำให้ชาวนาส่วนใหญ่ที่ทำนาอยู่นั้น อยู่ในภาคกลาง เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อการทำนาตลอดปี
จึงทำให้ภาคกลางเป็นแหล่งผลิตข้าวรายใหญ่ในประเทศไทย
บรรณานุกรม
รองศาสตราจารย์ ดร.ธิดา สาระยา.ประวัติศาสตร์ชาวนายาม.กรุงเทพ : สำนักพิมพ์อมรินทร์, 2544.
พระยาอนุมานราชธน .ชีวิตชาวนา. กรุงเทพ :สำนักพิมพ์แม่คำผาง , 2531.
สำนักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลางสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.วิถีชีวิตชาวนาภาคกลางโจทย์ภายใต้กระแสความเปลี่ยนแปลง.
“ม.ป.ป.” ธันวาคม 2553
นายสมหมาย พงษ์ษร.28 เมษายน 2557.สัมภาษณ์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น